ข้ามไปเนื้อหา จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี แพงพวยฝรั่ง เป็นพืชดอกถิ่นเดียวของ ประเทศมาดากัสการ์ ในธรรมชาติอยู่ในสภาวะเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์เพราะการถางและเผาเพื่อการ เกษตรกรรม [1] แต่อย่างไรก็ตามมันกลับได้รับการปลูกเลี้ยงอย่างกว้างขวางในพื้นที่เขตร้อนทั่วโลก [2] แพงพวยฝรั่งเป็น ไม้ไม่ผลัดใบ พุ่มเตี้ยหรือ พืชโตชั่วฤดู สูงประมาณ 1 ม. ใบเป็นรูปไข่ถึงรูปขอบขนาน ยาว 2. 5–9 ซม. กว้าง 1–3. 5 ซม. สีเขียวเป็นมัน ไม่มีขน เส้นกลางใบซีดและก้านใบสั้น ยาว 1–1. 8 ซม. ดอก มีสีขาวถึงชมพูเข้ม มีสีแดงตรงกลางดอก ฐานดอกรูปหลอดยาว 2. 5-3 ซม. วงกลีบดอกมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 2–5 ซม. มี 5 แฉก ผลเป็นผลแตกแนวเดียวยาว 2–4 ซม. กว้าง 3 มม. [3] [4] [2] [5] แพงพวยฝรั่งมีชื่อพื้นเมืองอื่น ๆ ดังนี้: นมอิน (สุราษฎร์ธานี) ผักปอดบก (เหนือ) แพงพวยบก (กทม. )

AFM ผู้นำแห่งการพัฒนาพันธุ์ไม้ดอก ต้านโรค ดอกดก ปลูกได้ทั้งปี - พลังเกษตร.com

3 กรัมต่อกิโลกรัมเป็นเวลา 3 สัปดาห์ และดูผลในการขับปัสสาวะในขนาด 0.

ใบเป็นรูปไข่ถึงรูปขอบขนาน ยาว 2. 5–9 ซม. กว้าง 1–3. 5 ซม. สีเขียวเป็นมัน ไม่มีขน เส้นกลางใบซีดและก้านใบสั้น ยาว 1–1. 8 ซม. ดอกมีสีขาวถึงชมพูเข้ม มีสีแดงตรงกลางดอก ฐานดอกรูปหลอดยาว 2. 5-3 ซม. วงกลีบดอกมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 2–5 ซม. มี 5 แฉก ผลเป็นผลแตกแนวเดียวยาว 2–4 ซม. กว้าง 3 มม. ฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา 1. ฤทธิ์ในการต้านมะเร็ง การสกัดสารสำคัญจากต้นแพงพวยฝรั่งทั้งต้นทำให้ได้สารอัลคาลอยด์ชื่อ Vincristine และ Vinblastine โดยมีการนำ Vinblastine ไปใช้ทดลองกับหนูทดลอง พบว่าสารชนิดนี้มีฤทธิ์ทำให้ปริมาณของเม็ดเลือดขาวลดน้อยลง ส่วน Vinblastine ที่สกัดได้ไปนำทดลองกับหนูขาวที่มีโรคมะเร็งในเม็ดเลือด พบว่ามีฤทธิ์ยับยั้งโรคต่อมน้ำเหลืองของหนูทดลองได้ จึงได้นำสารสกัดที่ได้นำมาทำให้บริสุทธิ์ แล้วใช้ในรูปของยาฉีดรักษาคนไข้มะเร็งบางชนิด เช่น มะเร็งเม็ดเลือด เป็นต้น 2. ฤทธิ์ในการลดความดันโลหิต, ขับปัสสาวะ และลดไขมันในเลือด ประเทศไทยได้ทำการศึกษาทดลองผลของแพงพวย ในปีพ. ศ. 2547 ในการลดความดันโลหิตสูงในแมวที่ให้สารสกัดแพงพวยในขนาด 0. 3 กรัมต่อกิโลกรัม และทดสอบผลในการลดไขมันในเลือดในหนูด้วยการให้สารสกัดแพงพวยในขนาด 0.

แพงพวยฝรั่ง - ระบบฐานข้อมูลพืชสมุนไพรไทย อำเภอพนม จังหวัดสุราษฎร์ธานี

ดอก แพงพวย ไทย download ดอก แพงพวย ไทย 2021

ขอเป็นเพียง "แพงพวย" ก็เพียงพอ - GotoKnow

ช่วยแก้บวม แก้แผลอันเกิดจากการหกล้ม แผลเน่าเปื่อย ด้วยการใช้ต้นสดนำมาตำพอกบริเวณที่เป็น (ทั้งต้น) 28. รากและก้านสดนำมาต้มกับน้ำดื่มเป็นยาแก้ปวด (ราก, ก้าน) ประโยชน์ 1. ในประเทศไทยจะนิยมปลูกต้นแพงพวยฝรั่งไว้เป็นไม้ประดับสวนทั่วไป ปลูกตามริมถนน ริมทางเดิน สวนสาธารณะ ริมทะเลได้ดี หรือในที่น้ำไม่ท่วมขัง ปลูกเป็นไม้กระถางก็ดูงดงาม เพราะดอกสวยเด่นมีหลายสี จัดเป็นไม้ดอกที่ปลูกง่าย โตเร็ว ดูแลง่าย ตายยาก ทนดินเค็ม (แต่ไม่ทนดินเปรี้ยว) ทนความแห้งแล้ง โรค และแมลงได้ดี ถ้าปลูกประดับสวนควรปลูกกลางแจ้งและควรตัดแต่งจะได้ทรงพุ่มสวยงาม แต่สำหรับในบางท้องถิ่นทางภาคใต้ของประเทศไทย หรือในประเทศมาเลเซีย และประเทศอินโดนีเซียมักจะปลูกต้นแพงพวยไว้เป็นไม้ประดับหลุมฝังศพ และจะไม่ปลูกตามบ้านเรือน คำแนะนำ 1. วิธีใช้สมุนไพรแพงพวยตาม ให้ใช้ทั้งต้นแห้งครั้งละ 15 - 30 กรัมนำมาต้มกับน้ำดื่ม หรือใช้ต้นสดนำมาคั้นเอาแต่น้ำดื่ม ส่วนใช้ภายนอกให้นำมาตำพอกหรือสุมไฟให้เป็นถ่านผสมเป็นยาพอก ลิงค์ข้อมูลเพิ่มเติม แหล่งที่มาของภาพ พงพวยฝรั่ง ้นแพงพวยฝรั่ง บแพงพวยฝรั่ง อกแพงพวยฝรั่ง ลแพงพวยฝรั่ง

  • ดอก แพงพวย ไทย ฟรี
  • ยาง 150 60
  • ดอก แพงพวย ไทย
  • ดอก แพงพวย ไทย ep
  • คอน โด ชา บู โร
  • แพงพวย คืออะไร แปลภาษา แปลว่า หมายถึง (พจนานุกรมไทย-ไทย ราชบัณฑิตยสถาน)

เวียดนาม

เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 3 มม. ก้านยาว 2. 5-5. มีเมล็ดมาก เรียบเป็นมันสีนํ้าตาล ยาวประมาณ 1-1. 5 มม. ขยายพันธุ์โดยอาศัยเมล็ด พบในนาข้าว และคลองส่งน้ำ ในแปลงเพาะปลูก ความรู้ด้านการเกษตร ที่น่าสนใจ

ชื่อสมุนไพร: แพงพวยฝรั่ง ชื่ออื่น ๆ: นมอินทร์(สุราษฎร์), ผักปอดบก(เหนือ), แพงพวยฝรั่ง, พังพวยฝรั่ง, พังพวยบก, แพงพวยบก(ไทยภาคกลาง) ชื่อสามัญ: Madagascar Periwinkle ชื่อวิทยาศาสตร์: Catharanthus roseus G. Don ชื่อวงศ์: APOCYNACEAE ลักษณะทางพฤกษศาสตร์: ต้นแพงพวยฝรั่ง เป็นพรรณไม้ล้มลุกเนื้ออ่อนพุ่มเตี้ย มีกิ่งก้านสาขามาก ลำต้น มีความสูงเต็มที่ประมาณ 3 ฟุต ใบแพงพวยฝรั่ง เป็นไม้ใบเดี่ยว ออกเป็นคู่ ๆ ตรงข้ามกัน ลักษณะใบเป็นรูปไข่ หนา มีสีเขียวเข้ม ขอบใบจะเรียบไม่มีจัก ปลายใบมน โคนใบแหลม หรือบางทีก็มน เส้นกลางใบเป็นสีเขียวอ่อน หรือสีเหลืองลากเป็นเส้นเห็นได้ชัดมาก ใบจะมีความกว้างประมาณ 2-3 ซม. และยาวประมาณ 4-5 ซม. มีใบดกมาก ดอกแพงพวยฝรั่ง จะมีอยู่ 2 สีด้วยก้น คือสีขาว และสีชมพู ถ้าเป็นสีขาวที่ตรงกลางดอกก็จะเป็นสีเหลือง ส่วนสีชมพูตรงกลางดอกนั้นจะเป็นสีแดง ดอกจะออกรวมกันเป็นกลุ่ม ๆ อยู่ตามส่วนยอดของต้น กลุ่มหนึ่ง ๆ จะมีดอกอยู่ราว ๆ 3-6 ดอก ดอกจะมีอยู่ชั้นเดียวและมีอยู่ 5 กลีบ ดอกจะบานกว้างประมาณ 4 ซม. และเมื่อดอกร่วงหล่นไป ก็จะติดฝัก ผลแพงพวยฝรั่ง เป็นฝักรูปทรงกระบอก เมื่อแก่จัดก็จะแตกออกเป็น 2 ซีก จะมีเมล็ดอยู่ภายในมากมาย ส่วนที่ใช้เป็นยา: ใบ, ราก, ทั้งต้นสดหรือแห้ง สรรพคุณ แพงพวยฝรั่ง: ใบ ช่วยบำรุงหัวใจ ช่วยย่อยอาหาร ราก แก้บิด ขับพยาธิ ใช้ห้ามเลือด รักษามะเร็งในเม็ดเลือด ทั้งต้น รสจืด เย็นจัด ใช้แก้ร้อน แก้เบาหวาน ลดความดัน ขับปัสสาวะ แก้บวม ถอนพิษสำแดง ถอนพิษต่างๆ แก้ไอแห้งๆ เกิดจากร้อน แก้อาการตัวเหลืองอันเกิดจากพิษสุรา แก้โรคหนองใน หัด ผื่นคันและแผลอักเสบอื่นๆ

5-2. 5 เซนติเมตรและยาวประมาณ 1.

ทั้งต้นใช้ต้มดื่มช่วยลดความดันโลหิต ตามตำรับยาให้ใช้แพงพวย 15 กรัม ชุมเห็ดไทย 6 กรัม เก๊กฮวย 6 กรัม นำมารวมกันต้มกับน้ำรับประทาน หรือจะใช้แพงพวย และแห่โกวเช่าอย่างละ 15 กรัม นำมาต้มกับน้ำรับประทานก็ได้เช่นกัน (ทั้งต้น) 7. ทั้งต้นมีรสจืดเย็น ช่วยแก้ร้อน ทำให้เลือดเย็น แก้หวัด ตัวร้อน แก้อาการไอแห้งอันเกิดจากความร้อน ด้วยการใช้ต้นแห้ง 15 - 30 กรัมนำมาต้มกับน้ำดื่ม (ทั้งต้น) 8. ใช้เป็นยารักษาโรคมาลาเรีย โรคเจ็บคอ และโรคช่องคออักเสบ (ไม่ระบุส่วนที่ใช้) 9. ต้นและใบช่วยลดไขมันในเลือดสูงได้ ด้วยการใช้ใบและต้น 1 กำมือ นำมาต้มกับน้ำดื่มเช้าและเย็น (ต้น, ใบ) 10. ช่วยแก้อาการร้อนในกระหายน้ำและแก้อาการท้องผูก ด้วยการใช้ต้นสด 60 - 120 กรัมนำมาตำคั้นเอาน้ำผสมกับน้ำผึ้งเดือนห้าอุ่นพออุ่นดื่ม (ทั้งต้น) 11. ใช้เป็นยาขับเหงื่อ (ไม่ระบุส่วนที่ใช้) 12. ใช้ต้นสด 60 กรัมนำมาต้มกับน้ำดื่มเป็นยาแก้อาการปวดฟัน (ทั้งต้น) 13. ช่วยแก้อาการท้องผูกเรื้อรัง ช่วยในการย่อย (ใบ) 14. รากมีรสเอียน เป็นยาแก้บิด (ราก) 15. รากมีสรรพคุณเป็นยาขับพยาธิ (ราก) 16. ทั้งต้นใช้ครั้งละ 6 - 15 กรัม นำมาต้มกับน้ำรับประทานเป็นยาขับปัสสาวะ (ทั้งต้น) 17.
Friday, 1 July 2022